top of page

คำแนะนำภาษีที่ดินและสิ่งปลูกส้าง

คำแนะนำ

ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกส้าง

เทศบำลตำบลบ้ำนสำง

อำเภอเมือง จังหวัดพะเยำ

กองคลัง งานจัดเก็บรายได้

107 หมู่ที่ 8 ตำบลบ้ำนสำง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยำ

โทรศัพท์ 054-458777 โทรสำร. 054-888901

พระรำชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้ำง พ.ศ.2562

วันเริ่มบังคับใช้กฎหมำย 13 มีนำคม 2562 วันเริ่มกำรจัดเก็บภำษี 1 มกรำคม 2563

ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเป็นภาษี ประเภทใหม่ ที่จะนามาใช้ จัดเก็บแทนภำษีโรงเรือนและที่ดิน และภำษีบำรุงท้องที่ ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บอยู่ในปัจจุบัน โดยรายได้จากการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทั้งหมดจะเป็นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาท้องถิ่น โดยไม่ต้องนาส่งเป็นรายได้ของรัฐบาลส่วนกลาง

หลักกำรจัดเก็บภำษี

บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลมีหน้าที่เสียภาษี

ผู้จัดเก็บภาษีนาไปใช้ในการพัฒนาท้องถิ่น

ฐานภาษีคิดจากมูลค่าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง

อัตราภาษีเป็นรูปแบบขั้นบันไดเพิ่มตามฐานภาษี

ผู้มีหน้าที่เสียภาษี ได้แก่ บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง ผู้ครอบครองหรือ

ทาประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ

ทรัพย์สินที่ต้องเสียภาษี ได้แก่ ที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง และ ห้องชุด

ฐานภาษี คิดจากมูลค่าทั้งหมดของที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง โดยคานวณจากราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ดิน สิ่งปลูก

สร้าง และห้องชุด ตามประมวลกฎหมายที่ดินกรมธนารักษ์ โดยสิ่งปลูกสร้างในแต่ละประเภทจะมีราคา

ประเมินกลางที่แตกต่างกันไป ทั้งนี้ ราคาประเมินกลางของทั้งที่ดินและ สิ่งปลูกสร้างจะมีการปรับตามรอบ

บัญชีการประเมินราคาทุก 4 ปี

อัตราภาษี ได้มีการแบ่งประเภทที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเป็น 4 กลุ่ม ตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่

เกษตรกรรม ที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรม และที่ดินรกร้างว่างเปล่า อัตราภาษีที่ใช้จัดเก็บจะเป็นรูปแบบขั้นบันได

เพิ่มขึ้นตามมูลค่าของฐานภาษี

ถ้าที่ดินเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ ไม่ว่าภาระภาษีจะสูงขึ้นหรือลดลง ผู้เสียภาษีต้องแจ้งการ

เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภำยใน 60 วัน นับตั้งแต่รู้

เหตุว่ามีการเปลี่ยนแปลง

สำระสำคัญของ พ.ร.บ. ภำษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้ำง พ.ศ. 2562

มูลค่ำที่ดินและสิ่งปลูกสร้ำงที่ใช้คิดเป็นฐำนภำษี (ม.35)

 ที่ดิน = ราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ดิน เป็นเกณฑ์ในการคานวณ

 สิ่งปลูกสร้าง = ราคาประเมินทุนทรัพย์สิ่งปลูกสร้าง เป็นเกณฑ์ในการคานวณ

 สิ่งปลูกสร้างที่เป็นห้องชุด = ราคาประเมินทุนทรัพย์ห้องชุดเป็นเกณฑ์ในการคานวณ

 กรณีที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ไม่มีราคาประเมินทุนทรัพย์ การคานวณมูลค่าให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง

ประเภทและมูลค่ำที่ดินและสิ่งปลูกสร้ำงที่ได้รับยกเว้นภำษี

ประเภท

เจ้ำของเป็นบุคคลธรรมดำ

นิติบุคคล

1) การประกอบ เกษตรกรรม (ม.40)

เกษตรกรรม (ม.40)

ยกเว้น 50 ล้านบาทแรก ต่อ เขต อปท.

ไม่ยกเว้น

2) เป็นที่อยู่อาศัย (ม.41)

--เป็นเจ้าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง มีชื่อในทะเบียนบ้าน

ยกเว้น50 ล้านบาทแรก

--เป็นเจ้าของสิ่งปลูกสร้าง ไม่ได้ เป็นเจ้าของที่ดิน มีชื่อใน

ทะเบียนบ้าน ยกเว้น 10 ล้านบาทแรก

(1 คน มีชื่ออยู่ได้แค่ 1 บ้าน จึงได้ยกเว้นแค่แห่งเดียวที่มีชื่ออยู่)

ไม่ยกเว้น

3) ใช้ประโยชน์อื่นๆ

ไม่ยกเว้น

ไม่ยกเว้น

4) ทิ้งไว้ว่างเปล่า

ไม่ยกเว้น

ไม่ยกเว้น

อัตรำภำษีตำมมูลค่ำของฐำนภำษี อัตรำภำษีใน 2 ปีแรก

(เริ่ม 1 มกรำคม 2563)

1. กรณี ประกอบเกษตรกรรม ของบุคคลธรรมดำ

มูลค่ำทรัพย์สิน (บำท)

อัตรำภำษีต่อปี (ม.94(1))

50 ล้านแรก ยกเว้น

ส่วนที่ไม่เกิน 75 ล้าน

0.01 % (ล้านละ 100)

ส่วนที่เกิน 75 ล้าน แต่ไม่เกิน 100 ล้าน

0.03 % (ล้านละ 300)

ส่วนที่เกิน 100 ล้าน แต่ไม่เกิน 500 ล้าน

0.05 % (ล้านละ 500)

ส่วนที่เกิน 500 ล้าน แต่ไม่เกิน 1,000 ล้าน

0.07 % (ล้านละ 700)

ส่วนที่เกิน 1,000 ล้าน

0.10 % (ล้านละ 1,000)

กำรคำนวณ เอามูลค่าทรัพย์สิน 50 ล้านบาท มาหักก่อน แล้วจึงนาส่วนที่เกินมาคานวณ ตามตาราง (ม.40 และ 95)

2. กรณี ทีดินและสิ่งปลูกสร้ำง ของบุคคลธรรมดำ เป็นที่อยู่อำศัยและ มีชื่อในทะเบียนบ้ำน

มูลค่ำทรัพย์สิน (ล้ำนบำท)

อัตรำภำษีต่อปี

(ม.94 (2))

50 ล้านแรก ยกเว้น (ม.41)

-

-

ส่วนที่ไม่เกิน 25 ล้าน

0.03 % (ล้านละ 300)

ส่วนที่เกิน 25 ล้าน แต่ไม่เกิน 50 ล้าน

0.05 % (ล้านละ 500)

ส่วนที่เกิน 50 ล้าน

0.10 % (ล้านละ 1,000)

กำรคำนวณ เอามูลค่าทรัพย์สิน 50 ล้านบาทแรก มาหักก่อน แล้วจึงนาส่วนที่เกินมาคานวณ ตามตาราง (ม.41 และ 95)

3. กรณี สิ่งปลูกสร้ำง (ไม่ได้เป็นเจ้ำของที่ดิน) ของบุคคลธรรมดำเป็นที่อยู่อำศัยและมีชื่อในทะเบียนบ้ำน

มูลค่ำทรัพย์สิน (ล้ำนบำท)

อัตรำภำษีต่อปี

(ม.94 (3))

10 ล้านแรก ยกเว้น (ม.41)

-

-

ส่วนที่ไม่เกิน 40 ล้าน

0.02 % (ล้านละ 200)

ส่วนที่เกิน 40 ล้าน แต่ไม่เกิน 65 ล้าน

0.03 % (ล้านละ 300)

ส่วนที่เกิน 65 ล้าน แต่ไม่เกิน 90 ล้าน

0.05 % (ล้านละ 500)

ส่วนที่เกิน 90 ล้าน

0.10 % (ล้านละ 1,000)

กำรคำนวณ เอามูลค่าทรัพย์สิน 10 ล้านบาทแรก มาหักก่อน แล้วจึงนาส่วนที่เกินมาคานวณ ตามตาราง (ม.41 และ 95)

4. กรณี ใช้ประโยชน์อื่น ๆ ใช้อยู่อาศัยแบบอื่นๆ

มูลค่าทรัพย์สิน (ล้านบาท)

อัตราภาษีต่อปี (ม.94 (4))

0 ถึง 50 ล้าน

0.02 % (ล้านละ 200)

ส่วนที่เกิน 50 ล้าน แต่ไม่เกิน 75 ล้าน

0.03 % (ล้านละ 300)

ส่วนที่เกิน 75 ล้าน แต่ไม่เกิน 100 ล้าน

0.05 % (ล้านละ 500)

ส่วนที่เกิน 100 ล้าน

0.10 % (ล้านละ 1,000)

5. กรณี ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้ำงที่ใช้ประโยชน์อื่น นอกจำกประกอบเกษตรกรรมและเป็นที่อยู่อำศัย (พำณิขยกรรม)

มูลค่ำทรัพย์สิน (ล้ำนบำท)

อัตรำภำษีต่อปี (ม.94 (5))

0 ถึง 50 ล้าน

0.30 % (ล้านละ 3,000)

ส่วนที่เกิน 50 ล้าน แต่ไม่เกิน 200 ล้าน

0.40 % (ล้านละ 4,000)

ส่วนที่เกิน 200 ล้าน แต่ไม่เกิน 1,000 ล้าน

0.50 % (ล้านละ 5,000)

ส่วนที่เกิน 1,000 ล้าน แต่ไม่เกิน 5,000 ล้าน

0.60 % (ล้านละ 6,000)

ส่วนที่เกิน 5,000 ล้าน

0.70 % (ล้านละ 7,000)

6.กรณี ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้ำงที่ทิ้งไว้ว่ำงเปล่ำหรือไม่ได้ทำประโยชน์ตำมควรแก่สภำพ

มูลค่ำทรัพย์สิน (ล้ำนบำท)

อัตรำภำษีต่อปี (ม.94(6))

0 ถึง 50 ล้าน

0.30 % (ล้านละ 3,000)

ส่วนที่เกิน 50 ล้าน แต่ไม่เกิน 200 ล้าน

0.40 % (ล้านละ 4,000)

ส่วนที่เกิน 200 ล้าน แต่ไม่เกิน 1,000 ล้าน

0.50 % (ล้านละ 5,000)

ส่วนที่เกิน 1,000 ล้าน แต่ไม่เกิน 5,000 ล้าน

0.60 % (ล้านละ 6,000)

ส่วนที่เกิน 5,000 ล้าน

0.70 % (ล้านละ 7,000)

มำตรำ 96

เพื่อเป็นการบรรเทาการชาระภาษี ใน ของการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตาม พ.ร.บ.นี้ 3 ปีแรกให้สาหรับเจ้าของ ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างซึ่งเป็นและใช้ประโยชน์ในการยกเว้นกำรจัดเก็บภำษีบุคคลธรรมดำประกอบเกษตรกรรม

มำตรำ 97

ผู้ที่เคยเสียภาษีโรงเรือนและที่ดินหรือภาษีบารุงท้องที่และต้องเสียเพิ่มขึ้นจากเดิม เนื่องจากกฎหมายนี้ ส่วนต่างเมื่อเทียบกับแบบเดิม จะได้บรรเทาภาระ ดังนี้

1. ปีที่ 1 จ่ายแบบเดิม + 25 % ของส่วนต่าง

2. ปีที่ 2 จ่ายแบบเดิม + 50 % ของส่วนต่าง

3. ปีที่ 3 จ่ายแบบเดิม + 75 % ของส่วนต่าง

 ผู้จ่ำยภำษี

-

- ผู้มีชื่อเป็นเจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง ณ วันที่ 1 มกราคม ของปีนั้น

-

- ผู้จ่ายภาษี ต้องจ่ายทุกปี (มาตรา 9)

-

- ชาระภาษี ภายในเดือน เมษายน ของปีนั้น (มาครา 46)

เบี้ยปรับและเงินเพิ่ม

-

- ในกรณีผู้เสียภาษีมิได้ชาระภาษีภายในเวลาที่กาหนด ให้เสียเบี้ยปรับร้อยละ 40 ของภาษีที่ค้างชาระ (มาตรา 68) เว้นแต่ผู้เสียภาษีได้ชาระก่อนจะได้รับหนังสือแจ้งเตือน ให้เสียเบี้ยปรับร้อยละ 10

-

- มิได้ชาระภาษีภายในเวลาที่กาหนด ให้เสียเงินเพิ่มอีกร้อย 1 ต่อเดือน ของ ภาษีที่ค้างชาระ นอกเหนือจากเบี้ยปรับ 40% (มาตรา 70)

สรุปเกณฑ์สำหรับคนมีบ้ำน

1. ที่อยู่หลัก ของบุคคลธรรมดา คือเป็นเจ้าของบ้านและที่ดิน หรือ คอนโด พร้อมมีชื่อในทะเบียนบ้านนั้นด้วย

ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่า 50 ล้านบาทแรก ส่วนเกินคิดตามอัตราภาษี

2. ที่อยู่รอง ของบุคคลธรรมดา คือ เป็นเจ้าของแต่ไม่มีชื่อในทะเบียนบ้าน เสียภาษีตั้งแต่บาทแรก

3. ที่อยู่หลัก ของบุคคลธรรมดา คือเป็นเจ้าของบ้าน มีชื่อในทะเบียนบ้าน แต่ไม่ได้เป็นเจ้าของที่ดิน ได้รับยกเว้น

ภาษีมูลค่า 10 ล้านบาทแรก

ระยะเวลำกำรดำเนินกำร

แจ้งรำยกำรที่ดินและสิ่งปลูกสร้ำง พ.ย. – ธ.ค.

ประกำศรำคำประเมินทุนทรัพย์ ก่อนวันที่ 1 ก.พ.

แจ้งประเมินภำษีให้แก่ผู้ชำระภำษี ภำยใน ก.พ.

ชำระภำษีตำมแบบแจ้งกำรประเมิน ภำยใน เม.ย.

กำรผ่อนชำระ เม.ย. – มิ.ย.

เบี้ยปรับ ร้อยละ 10 ของค่าภาษี ชาระภาษีก่อนออกหนังสือแจ้งเตือน

ร้อยละ 20 ของค่าภาษี ชาระภายในวันที่กาหนดไว้ในหนังสือแจ้งเตือน

ร้อยละ 40 ของค่าภาษี ชาระเกินวันที่กาหนดไว้ในหนังสือแจ้งเตือน

เงินเพิ่ม ร้อยละ 1 ของค่าภาษี ต่อเดือนที่ค้างชาระ


โหลดเอกสารที่นี่




Opmerkingen


bottom of page